ใบงาน

หน่วยที่
1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับงานดอกไม้สด
งานดอกไม้สด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับงานดอกไม้สด เป็นปัจจัยพื้นฐานสำคัญในการปฏิบัติงานดอกไม้สด
ผู้เรียนงานดอกไม้สดทุกคนควรให้ความสนใจตั้งแต่ความเป็นมาของการจัดดอกไม้ เพื่อให้รู้ที่มา
ที่ไป ตลอดจนการเลือกวัสดุอุปกรณ์ การเก็บดูแลรักษา ก่อนการทำการจัด หรือการประดิษฐ์และ
ภายหลังจนถึงขั้นสุดท้าย เพื่อให้งานที่ออกมามีความประณีต สวยงาม ถูกใจแก่ผู้พบเห็น
1.1
ความเป็นมาเกี่ยวกับงานดอกไม้สด
1.2
ความหมายของคำต่าง ๆ ที่ใช้ในงานดอกไม้สด
1.3
การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในงานดอกไม้สด
1.4
การเลือกดอกไม้ ใบไม้ และการเก็บรักษา
สาระสำคัญ
ความเป็นมาของงานดอกไม้สด และความหมายของคำต่าง ๆ ที่ใช้ในงานดอกไม้สดนี้
เป็นความรู้พื้นฐานสำหรับผู้เรียนและช่างดอกไม้สดควรเรียนรู้ เพื่อให้ทราบลักษณะงานดอกไม้สด
ซึ่งเป็ นเอกลักษณ์ประจำชาติที่เราทุกคนภาคภูมิใจ และการที่จะทำให้เกิดทักษะในการปฏิบัติ
สิ่งสำคัญคือ การจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในงานดอกไม้สดและวิธีการเก็บรักษาชิ้นงานอย่างถูกต้อง
จะช่วยให้ชิ้นงานคงทน สด สวยงาม ให้คงอยู่ได้นานที่สุด
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1.
สามารถบอกความเป็นมาเกี่ยวกับงานดอกไม้สดได้
2.
บอกความหมายของคำต่าง ๆ ที่ใช้ในงานดอกไม้สดได้
3.
สามารถเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในงานดอกไม้สดได้ถูกต้อง
4.
และการประดิษฐ์เครื่องแขวน
สามารถเลือกดอกไม้ ใบไม้ และวัสดุได้เหมาะสมกับงานร้อยมาลัย การจัดพาน
5.
สามารถบอกวิธีการเก็บรักษาชิ้นงานในงานดอกไม้สดได้
6.
สามารถบอกประโยชน์ของชิ้นงานดอกไม้สดได้
7.
สามารถบอกประโยชน์ของเครื่องแขวนและพานพุ่มได้
8.
สามารถนำความรู้เกี่ยวกับงานดอกไม้สดไปใช้กับการปฏิบัติงานดอกไม้สดได้
9.
สามารถจำแนกประเภทของงานดอกไม้สดในวิชาดอกไม้สด 1 ได้
ดอกไม้สด
1
สุวรรณี พุกภิญโญ
25
กิจกรรม
1.
ทำแบบทดสอบก่อนเรียน
2.
ศึกษาแผนการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับงานดอกไม้สด
3.
ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนการสอน หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับงานดอกไม้สด
4.
รู้จักการทำงานเป็นกลุ่ม
ปฏิบัติกิจกรรมให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม เพื่อเตรียมอุปกรณ์และศึกษาข้อมูล ฝึกให้ผู้เรียน
5.
ความคิดเห็น
อธิบาย ซักถาม อภิปราย สาธิต ลงมือปฏิบัติและเสนอแนะพร้อมทั้งให้ผู้เรียนแสดง
5.1
เตรียมอุปกรณ์ในงานดอกไม้สด
5.2
เตรียมเรียนรู้วัสดุที่ใช้ในงานดอกไม้สด เตรียมกลีบดอกและกลีบใบ
5.3
ปฏิบัติการเรียนรู้งานดอกไม้สด
5.4
ทำแบบฝึกหัด6. ทำแบบทดสอบหลังเรียนประเมินผล
1.
ประเมินผลจากกิจกรรมที่ 1 การทดสอบ/ สังเกตการใช้วัสดุ - อุปกรณ์/ สังเกตความสนใจ2. ประเมินผลจากกิจกรรมที่ 2 การทำแบบฝึกหัด ขั้นตอนการปฏิบัติงาน การร่วมกิจกรรมสื่อการเรียนการสอน
1.
2.
เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ดอกไม้สด 1ตัวอย่างของจริง วัสดุและอุปกรณ์ในงานดอกไม้สด
3.
รูปภาพการจัดงานที่มีงานดอกไม้ประเภทต่าง ๆ4. ใบงาน ให้ศึกษางานเรื่องความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับงานดอกไม้สดผลผลิตที่ต้องการ
1.
นักเรียนอธิบายวิธีการเตรียมวัสดุอุปกรณ์การเลือกดอกไม้ใบไม้และการเก็บรักษาได้
2.
คะแนน ดังนี้
นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนได้ผลสอบอยู่ในระดับดี - ดีมาก ตามเกณฑ์การให้
ดอกไม้สด
1
สุวรรณี พุกภิญโญ
26
8.50 - 10.00
คะแนน อยู่ในระดับ ดีมาก
7.00 - 8.49
คะแนน อยู่ในระดับ ดี
5.50 - 6.99
ต่ำกว่า
คะแนน อยู่ในระดับ พอใช้5.49 คะแนน อยู่ในระดับ ปรับปรุงข้อคิดจากครู
ผลงานจะมีคุณค่า ถ้าใช้เวลาอย่างต
ั้งใจ
ดอกไม้สด
1
สุวรรณี พุกภิญโญ
27
แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่
1
เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับงานดอกไม้สด
คำชี้แจง นักเรียนอ่านคำถามแล้วเลือกคำตอบที่ถูกต้อง โดยเขียนเครื่องหมาย
กระดาษคำตอบ
X ลงใน(เวลา 10 นาที)
1.
การประดิษฐ์ดอกไม้สดมีขึ้น ในสมัยใด. กรุงสุโขทัย. กรุงทวาราวดี. กรุงศรีอยุธยา. กรุงรัตนโกสินทร์
2.
อุบะขาเดียว มีชื่อว่าอะไร. อุบะตุ้งติ้ง. อุบะแขก. อุบะไทย. อุบะไทยทรงเครื่อง
3.
สวนหรือเส้น หมายถึง ข้อใด. การเย็บแบบกลม. ดอกไม้ที่ร้อยต่อจากดอกครอบ. การร้อยดอกรักเป็นเส้นใช้โยง จากมุมหนึ่งไปอีกมุมหนึ่ง. การเย็บดอกไม้สีต่าง ๆ ลงบน กาบกล้วยเพื่อปิดทับโครงต่าง ๆ
4.
แล้วจับประกบกันให้แน่น
อาจเป็นรูปทรงดอกบัวตูม หรือทรงกลม คล้ายลูกประคำ
อาจใช้กลีบกุหลาบ กลีบกล้วยไม้ก็ได้
ดอกไม้ที่มีความแข็งแรงพอ หรือไม้ไผ่เหลาไม้กลัดเป็นตัวช่วย
ประคำดอกรัก มีความหมายตรงกับข้อใด. การนำดอกรักสีเดียวกัน 2 ดอก มาผ่าตามกลีบทั้งห้า ลึกลงประมาณครึ่งดอก. ดอกไม้ที่ปักหรือจัดไว้ที่หุ่นให้มีลักษณะรวมกันเป็นกลุ่มอย่างมีระเบียบ. ดอกไม้ประดิษฐ์ให้มีลักษณะทรงกลมคล้ายลูกประคำ ใช้แทนดอกตุ้มของอุบะ. วิธีการที่ทำให้ของสิ่งหนึ่งติดกับหุ่นหรือแกนอย่างแน่นโดยการใช้ก้านของ
ดอกไม้สด
1
สุวรรณี พุกภิญโญ
28
5.
สิ่งที่ไม่ใช่วัสดุในงานดอกไม้สด คือข้อใด. วาสลิน. กรรไกร. ดอกไม้ ใบไม้. ด้ายขาว ด้ายแดง
6.
ข้อใดคือใบไม้ที่ใช้ในการร้อยมาลัยทั้งหมด. ใบแก้ว ใบกระบือ. ใบซานาดู ใบโกศล. ใบมะยม ใบมะเฟือง. ใบปริก ใบหมากผู้ หมากเมีย
7.
การร้อยอุบะใช้เข็มชนิดใดร้อยได้เร็วและสะดวกที่สุด. เข็มมือ. เข็มสอด. เข็มสอย. เข็มมาลัย
8.
ข้อใดคือ ดอกไม้ที่เหมาะสมกับการร้อยตาข่ายทั้งหมด. ดอกพุด ดอกรัก. ดอกเข็ม ดอกมะเขือ. ดอกกุหลาบ ดอกบัว. ดอกบานบุรี ดอกมะลิ
9.
วัสดุที่ใช้ในการทำโครงเครื่องแขวน กลิ่นตะแคงคือข้อใด. ไม้ไผ่. เข็มมาลัย. เหล็กแบน. เหล็กกลม
10.
ดอกไม้ชนิดใดไม่ควรฉีดน้ำในการเก็บรักษา. ดอกกุหลาบ. ดอกบานบุรี. ดอกรักเปลือก. ดอกจำปี ดอกจำปา
ดอกไม้สด
1
สุวรรณี พุกภิญโญ
29
11.
วิธีเก็บใบโปร่งฟ้าที่ถูกต้อง คือข้อใด. ใส่ถุงพลาสติก หรือกล่องพลาสติกปิดฝา เก็บในตู้เย็น. ห่อกระดาษ หรือหนังสือพิมพ์ใส่ถุงพลาสติก เก็บในตู้เย็น. ใส่ถุงพลาสติก หรือกล่องพลาสติกมัดปากให้แน่น แช่ถังน้ำแข็ง. เก็บใส่กล่องพลาสติกมีฝา หรือถุงพลาสติก ป้องกันลม เก็บในตู้เย็น
12.
มาลัยกลมรักไม่รู้โรย เหมาะสมสำหรับใช้ทำมาลัยชนิดใด. มาลัยชำร่วย. มาลัยคล้องคอ. มาลัยคล้องมือ. มาลัยประธาน
13.
มาลัยที่สามารถใช้แทนเฟื่องตกแต่งโต๊ะได้เหมาะสมที่สุดควรใช้มาลัยชนิดใด. มาลัยรัก. มาลัยกลม. มาลัยตุ้มยกดอก. มาลัยแบนหน้าเดียว
14.
ชื่อของงานชนิดใด ไม่ใช่เครื่องแขวน. พู่กลิ่น. ระย้าน้อย. กลิ่นตะแคง. ตัวหนอนลายขนมเปียกปูน
15.
งานดอกไม้สดประเภทใด ที่ใช้การร้อยเป็นหลัก. พานพุ่มประยุกต์. มาลัยโซ่คล้องมือ. พานพุ่มบานไม่รู้โรย. การจัดแจกันทรงพุ่ม
ดอกไม้สด
1
สุวรรณี พุกภิญโญ
30
กระดาษคำตอบก่อนเรียน หน่วยที่
1
วิชา ดอกไม้สด
1 รหัสวิชา 2403-1001
ชื่อ
-สกุล............................................................ชั้น......................เลขที่...............
*******************************************************************************
คำชี้แจง ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย X ทับตัวอักษรหน้าคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียวข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
สรุปผล คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
15
ดอกไม้สด
1
สุวรรณี พุกภิญโญ
31
1.1
ความเป็นมาเกี่ยวกับงานดอกไม้สดประวัติความเป็นมาเกี่ยวกับงานดอกไม้สดบรรพบุรุษของไทยมีชื่อเสียงในงานด้านศิลปะการประดิษฐ์อย่างมาก โดยเฉพาะการประดิษฐ์
ตกแต่งพวงดอกไม้ ใบไม้ ผลไม้และวัสดุอื่น ๆ เป็นที่ขึ้นชื่อมานานแต่โบราณ แต่ไม่ปรากฏแน่ชัด
ว่าได้มีการเริ่มต้นมาแต่ในสมัยใด เนื่องมาจากไม่มีการจดบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ จึงไม่มี
หลักฐานใด ๆ ให้อนุชนรุ่นหลังได้สืบค้น ต่อมาในสมัยสุโขทัยเป็นราชธานี สมัยพระเจ้าอรุณ
มหาราช คือพระร่วงเป็นพระเจ้าแผ่นดิน มีพระสนมเอก คือ ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ หรือนางนพมาศ
ซึ่งเป็ นผู้ที่มีความสามารถในงานด้านฝี มือในการประดิษฐ์ดอกไม้สดเป็ นเลิศ ในสมัยนั้น ตาม
หลักฐานที่อ้างถึงในพระราชนิพนธ์เรื่อง พระราชพิธีสิบสองเดือน ตอนหนึ่งที่กล่าวถึงท้าวศรี
จุฬาลักษณ์ได้คิดตกแต่งโคมลอยให้งดงามวิจิตรกว่าโคมของพระสนมอื่น ๆ โดยการนำเอา
ดอกไม้ต่าง ๆ มาประดิษฐ์ตกแต่งและยังนำผลไม้มาทำการแกะสลักตกแต่งประกอบด้วย แต่มิได้
มีการอ้างถึงว่าในการตกแต่งครั้งนั้นมีการร้อยมาลัยมาประดับตกแต่งด้วยหรือไม่ นอกจากนี้
ยังมีหลักฐานที่อ้างถึงอีกตอนหนึ่งว่า ในเดือนเมษายนมีพระราชพิธีสนานใหญ่ บรรดาเจ้าเมือง
เศรษฐี คหบดีเข้าเฝ้าถวายบังคมสมเด็จพระร่วงเจ้า เพื่อถวายเครื่องราชบรรณาการ พระสนม
นางกำนัลต่างก็ร้อยกรองดอกไม้เป็นรูปสัตว์ต่าง ๆ ใส่เมี่ยงหมากถวายให้สมเด็จพระร่วงเจ้า
พระราชทานแก่ผู้มาเฝ้ า ในครั้งนั้นนางนพมาศได้ร้อยดอกไม้สีเหลืองเป็นรูปพานทองสองชั้น
รองขันมีระย้าระบายงดงามในขันใส่เมี่ยงหมาก แล้วร้อยดอกไม้เป็ นตาข่ายคลุมขันอีกทีหนึ่ง
ดูประณีตงดงามเหมาะสำหรับพระราชพิธีที่สำคัญ สมเด็จพระร่วงเจ้าจึงทรงบัญญัติว่า ถ้าชาวไทย
รับแขกเป็นการสนานใหญ่ มีการอาวาหมงคล หรือวิวาหมงคล ให้ร้อยกรองดอกไม้เป็นรูปพาน
ขันหมากเช่นนี้ และให้เรียกว่า
เอกลักษณ์ของชาติมายังอนุชนรุ่นหลัง โดยเริ่มจากพระราชสำนัก
หาความรู้ทางด้านวิชาการจะศึกษาที่วัด แต่ถ้าต้องการศึกษางานด้านศิลปะและฝีมือต่าง ๆ ก็ต้อง
ศึกษาจากวัง ดังนั้นพระราชสำนักจึงทำหน้าที่ถ่ายทอดวิชาความรู้เกี่ยวกับงานดอกไม้สดทั้งหลาย
แก่กุลธิดาที่ถูกส่งเข้าไปรับการอบรมสั่งสอนจากในรั้วในวัง แล้วจึงแพร่หลายมาสู่ชาวบ้าน
ชาวเมือง และประชาชนทั่วไป
งานดอกไม้สด ได้รับความนิยมอย่างมากในสมัยรัชกาลที่
ถึงปัจจุบัน มีการถ่ายทอดวิชาความรู้อย่างกว้างขวาง ได้มีการจัดตั้งสถานศึกษา เพื่อให้ความรู้แก่
เยาวชนและประชาชนทั่วไป ทั้งการสอนทางด้านสายสามัญและสายอาชีพ แม้จะมีหน่วยงาน
หลายหน่วยงานรับผิดชอบในการถ่ายทอดความรู้ แต่พระราชสำนักก็ยังให้ความสำคัญกับ
ศิลปวัฒนธรรมไทยแขนงนี้อย่างมาก ดังจะเห็นได้จากการจัดตั้งวิทยาลัยในวังขึ้น เพื่อถ่ายทอด
พานขันหมากจึงถือได้ว่าเป็นการถ่ายทอดงานดอกไม้สด ซึ่งเป็น(วัง) เพราะสมัยก่อนการจะศึกษา5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์มาจน
ดอกไม้สด
1
สุวรรณี พุกภิญโญ
32
ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับงานดอกไม้สดและงานฝีมือเกี่ยวกับศิลปประดิษฐ์ ของผู้ที่มี
ความชำนาญในพระราชวังสู่ประชาชน
งานดอกไม้สด จึงมีความผูกพันและมีความสำคัญอย่างยิ่งในวิถีการดำเนินชีวิตของสังคมไทย
เพราะไม่ใช่เพียงความสวยสดงดงามตระการตาเท่านั้น หากยังสะท้อนให้เห็นถึงความเจริญรุ่งเรือง
วัฒนธรรมอันดีงาม และความเป็นเอกลักษณ์ของชาติที่สืบต่อมาจากอดีต ปัจจุบัน ไปยังอนุชน
รุ่นหลัง ให้เป็นที่ยอมรับของสังคมและชาวโลกต่อไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุด
1.2
ความหมายของคำต่าง ๆ ที่ใช้ในงานดอกไม้สด
วิชาดอกไม้สด
ในการปฏิบัติงานโดยเฉพาะ ผู้เรียนจึงควรทำความเข้าใจให้ตรงกันเสียก่อน เพื่อทำความเข้าใจ
และปฏิบัติงานได้ถูกต้อง ดังต่อไปนี้แกนหรือหุ่น ส่วนที่เป็นที่สำหรับยึดอยู่ตรงกลาง เช่น หุ่นโฟมสำหรับปักดอกไม้สด เป็นต้นเกลา การทำให้เรียบดีขึ้น หรือทำให้กลมเกลี้ยง ไม่เป็นรอยขรุขระ เช่น การเกลาโฟม
เพื่อทำยอดพุ่ม เป็นต้นเกลียว รอยพันในลักษณะขึ้นไปอย่างเกลียวเชือก เช่น มาลัยกลมลายเกลียวคู่ เป็นต้นกรอง วิธีการประดิษฐ์ดอกไม้วิธีหนึ่ง โดยการนำเอาดอกไม้บางชนิด เช่น ดอกบานไม่รู้โรย
มาเฉือนให้เป็นแว่นบาง ๆ ด้วยมีดคม ๆ แล้วนำมาร้อยกรองจากใหญ่ไปหาเล็กเพื่อเป็นยอดพุ่มแต่งตัว การนำเอาส่วนประกอบต่าง ๆ ที่เตรียมไว้มาตกแต่งเข้าด้วยกันจนสำเร็จตามลำดับ
ขั้นตอน เช่น การนำอุบะมาผูกติดกับตัวมาลัย แล้วปิ ดทับด้วยมาลัยซีกดอกข่า หรือดอกข่าประดิษฐ์
ดอกไม้ประดิษฐ์ให้มีลักษณะคล้ายดอกข่าใช้แทนดอกตุ้มของอุบะ อาจใช้กลีบกุหลาบ กลีบกล้วยไม้
ดอกมะลิ หรือดอกไม้อื่น ๆ ก็ได้แบบ วิธีการประดิษฐ์ดอกไม้ของไทยอย่างหนึ่ง โดยการใช้ใบตอง ตัดเป็นรูปต่าง ๆ เย็บ
ใบไม้ ดอกไม้ ติดลงไป ตามความต้องการปัก วิธีการอย่างหนึ่งที่ทำให้ของสิ่งหนึ่งติดกับหุ่น หรือแกนอย่างแน่น โดยการใช้ก้านของ
ดอกไม้ที่มีความแข็งแรงพอ หรือไม้ไผ่เหลาไม้กลัด เข็มหมุด ลวดตัวยู เป็นตัวช่วยแทง หรือเสียบ
ลงไป เช่น ปักดอกบานไม่รู้โรยลงไปบนหุ่นโฟม ตั้งแต่ปากพานขึ้นไปประคำดอกรัก วิธีการประดิษฐ์ดอกรักให้มีรูปร่างลักษณะกลม ๆ คล้ายลูกประคำ โดย
การเลือกดอกรักสีเดียวกัน
ดันให้แน่น
1 มีคำศัพท์ที่ใช้ในการเรียกส่วนประกอบของชิ้นงาน และคำกริยาที่ใช้2 ดอก ผ่าตามกลีบทั้งห้าซีกลงมาประมาณครึ่งดอก แล้วจับประกบกัน
ดอกไม้สด
1
สุวรรณี พุกภิญโญ
33
แป้ น ใบตอง
เพื่อใช้ร้อยในเข็มมาลัยรองดอกไม้พุ่มดอกไม้ ดอกไม้ที่ปัก หรือจัดไว้ที่หุ่นให้มีลักษณะรวมกันเป็นกลุ่มอย่างมีระเบียบ อาจ
เป็นรูปทรงดอกบัว หรือทรงกลม เป็นต้นเฟื่ อง วิธีการประดิษฐ์ดอกไม้ของไทยอย่างหนึ่ง โดยการร้อยดอกไม้ต่อกันเป็นเส้นหรือ
สายสำหรับห้อยโยง ประดับตามช่องเป็นช่วง ๆ ซ้อนกัน
ปิดรอยต่อ หรือใช้ตกแต่งงานดอกไม้สดของไทยให้ดูสวยงามยิ่งขึ้นมาลัยตุ้ม มาลัยที่ร้อยให้มีลักษณะรูปทรงตามขวางเป็นรูปวงกลม ตรงกลางป่ อง หัวท้าย
เรียวเล็กเสียบ วิธีการอย่างหนึ่งที่นำเอาไม้กลัด ไม้ไผ่ เหลาให้เล็กปลายแหลม หรือลวดแทงเข้าไป
เพื่อเป็ นการต่อก้านดอกไม้สำหรับไว้ปักในขั้นต่อไป เช่น ใช้ไม้กลัดเสียบดอกมะลิ หรือดอก
บานไม่รู้โรยต่อเป็นก้านสำหรับปักลงบนหุ่นโฟมร้อย วิธีการอย่างหนึ่งที่นำดอกไม้เสียบลงในเข็ม แล้วเรียงให้เกิดชิ้นงาน แล้วจึงรูดลงด้าย
เช่น การร้อยมาลัย ร้อยอุบะ ร้อยเฟื่อง เป็นต้นดอกตุ้ม ดอกไม้ที่อยู่ล่างสุดของอุบะอาจใช้บานไม่รู้โรย ดอกกุหลาบดอกจำปี หรือ ดอกข่า
ประดิษฐ์ก็ได้ดอกครอบ กลีบเลี้ยงดอกรัก ขั้วชบา หรือหมวกครอบพลาสติก ร้อยต่อจากดอกตุ้ม หรือ
เรียกว่า ครอบดอกตุ้มก็ได้ดอกสวม ดอกไม้ที่ร้อยต่อจากดอกครอบในพวงอุบะ อาจใช้ดอกรัก ดอกมะลิ หรือดอกพุดสวนหรือเส้น การเย็บดอกไม้สีต่าง ๆ ลงบนกาบกล้วยที่นำมาผ่าให้เป็นชิ้นเล็ก หรือใบตอง
ฉีกซ้อนกันเล็กและยาว ใช้ปิดทับโครงต่าง ๆ ในงานดอกไม้สด เช่น โครงดอกไม้คลุมไตร โครง
เครื่องแขวน เป็นต้นแบบพู่กลิ่น เป็นการเย็บแบบชนิดกลมอย่างหนึ่ง ซึ่งมีเฉพาะขอบของแบบที่เป็นดอกไม้
จะมี
รวมกันอุบะไทยทรงเครื่อง เป็ นอุบะไทยชนิดหนึ่งที่มีดอกตุ้มคั่นทุกชั้น ที่มีการผูกรวมอย่าง
มีระบบ
2 ชั้น เท่ากันขนาดใหญ่กว่าตัวมาลัยเล็กน้อย นำมาไขว้กันแล้วพับสอด2-3 ชั้นมาลัยซีก มาลัยที่มีลักษณะรูปทรงตามขวางเพียงเสี้ยวหนึ่งถึงครึ่งวงกลม สำหรับนำไปผูก2 ชั้น 3 ชั้น หรือ 5 ชั้น ก็ได้ตามต้องการตุ้งติ้ง เป็นอุบะชนิดหนึ่งมีขาเดียว หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า อุบะขาเดียวอุบะแขก เป็นอุบะที่ประกอบด้วยอุบะขาเดียวหลาย ๆ สาย ทุกสายยาวเท่ากัน นำมาผูก
ดอกไม้สด
1
สุวรรณี พุกภิญโญ
34
1.3
การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในงานดอกไม้สด1.3.1 วัสดุในงานดอกไม้สดในการเตรียมวัสดุที่ใช้ในงานดอกไม้สด ซึ่งเป็นของที่ใช้แล้วหมดไป แบ่งออกเป็น
3
ประเภท ได้แก่
1)
ดอกกุหลาบ ดอกรัก ดอกพุด ดอกกะเม็ง ดอกเบญจมาศน้ำ ดอกบานไม่รู้โรย ดอกกล้วยไม้
ดอกบานบุรี ดอกชบา
ทดแทน ในกรณีที่มีวัสดุในท้องถิ่นต่างกัน เช่น ภาคใต้มีขิงแดงมาก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
มีดอกประทัดจีนมาก ก็นำมาร้อยมาลัยแทนดอกกุหลาบได้เช่นเดียวกัน
ดอกไม้ประเภทต่าง ๆ จะยกตัวอย่างเฉพาะดอกไม้ที่ใช้ในงานดอกไม้สด เช่น(ใช้กลีบเลี้ยง) ดอกมะลิ ดอกจำปี ดอกจำปา ฯลฯ แต่สามารถใช้ดอกไม้อื่น
2)
ใบตอง ใบกระบือ ใบแก้ว ใบโปร่งฟ้ า ใบมะยม ใบสนฉัตร หยวกกล้วย
ใบไม้ประเภทต่าง ๆ สำหรับงานดอกไม้สดที่ประดิษฐ์แบบไทยนั้น นิยมใช้(ใช้ทำพู่กลิ่น) กาบกล้วย
(
ใช้สำหรับเย็บสวน)
3
) วัสดุอื่น ซึ่งเป็นของใช้แล้วหมดไป เช่น หุ่นโฟม ใช้สำหรับการจัดพานพุ่ม,
โฟมปักดอกไม้สด ใช้สำหรับปักพานพุ่มประยุกต์ กาวลาเทกซ์ ใช้ติดโฟมเข้ากับพาน ตะปูเข็ม
ใช้สำหรับเสียบดอกไม้เพื่อปักใส่หุ่นพาน ดอกครอบพลาสติก ใช้แทนดอกครอบของสดบางกรณี
ด้ายขนาดต่าง ๆ ด้ายเบอร์
ใช้ขัดโฟม ขัดเข็ม วาสลีนทาเข็มมาลัย ไม้กลัดเสียบดอกไม้ใช้ปักกับหุ่นโฟม ลวดตัวยูใช้ปักเสียบ
ดอกไม้ และประกอบเครื่องแขวน ลวดเปลือยใช้สำหรับดามแบบ ไม้แหลมใช้เสียบยึด
40 ใช้รูดมาลัย ด้ายเบอร์ 60ใช้มัดหรือเย็บดอกข่า เย็บแบบ กระดาษทราย1.3.2
ดอกไม้คีมตัดลวด ใช้สำหรับดึงเข็มรูดมาลัย และตัดลวดต่าง ๆที่ฉีดนํ้า ใช้สำหรับฉีดพรมน้ำให้ดอกไม้ ใบไม้ ให้คงความสดอยู่นานผ้าเช็ดทำความสะอาด ใช้สำหรับเช็ดใบตองเช็ดมือ และเช็ดทำความสะอาดพื้นที่
ทำงานควรมีหลายผืน ไม่ควรเช็ดหลาย ๆ อย่างรวมกัน
อุปกรณ์ในงานดอกไม้สดอุปกรณ์ที่สำคัญและจำเป็นสำหรับงานดอกไม้สด มีดังนี้เข็มมือ ใช้สำหรับเย็บกลีบดอกไม้และใบตองเข็มมาลัย ใช้สำหรับร้อยมาลัยกรรไกร ใช้สำหรับตัดแต่งกลีบดอกไม้ ใบไม้ต่าง ๆมีด ใช้สำหรับแต่งกลีบดอกไม้และใช้เฉือนดอกไม้ตามชนิดของมีดและชนิดของ
ดอกไม้สด
1
สุวรรณี พุกภิญโญ
35
ถาด ใช้สำหรับวางรองวัสดุของสดและวางเรียงอุปกรณ์
ใบตองวางรองก่อน
(ถ้าเป็นของสดควรปู)พาน ใช้สำหรับทำพุ่มผ้าขาวบาง ใช้สำหรับชุบน้ำ คลุมงานที่ทำเสร็จเรียบร้อยแล้ว หรือรอทำชิ้นต่อไป
1.4
การเลือกดอกไม้ ใบไม้ และการเก็บรักษา
1.4.1
การเลือก ขั้วที่มีความสด กลีบสด
ไม่มีรอยช้ำ คล้ำ หรือตายนึ่งกลีบไม่ร่วง และควรเลือก
ขนาดตามความต้องการเหมาะสมกับงาน
ดอกกุหลาบมอญ(ภาพที่ 1.2)
การใช้ ปลิดกลีบดอกที่เลือกแล้ว
โดยใช้มือจับที่ขั้วดอก แล้วโยกออกจากกันการเก็บ ควรพรมน้ำหรือฉีดน้ำเบา ๆ
เพื่อรักษาความสด นำดอกใส่ถุง หรือกล่องพลาสติก
ที่มีใบตองรอง อย่าให้โดนลม เก็บในตู้เย็นช่องแช่ผักภาพที่
1.2 ดอกกุหลาบมอญ
ที่มา
: นางสุวรรณี พุกภิญโญ
ภาพที่
1.1 อุปกรณ์ในงานดอกไม้สด
ที่มา
: นางสุวรรณี พุกภิญโญ
ดอกไม้สด
1
สุวรรณี พุกภิญโญ
36
1.4.2
การเลือก กลีบสด แข็งแรง สีขาว
สะอาด ไม่มีรอยช้ำหรือดำ ขั้วดอกเขียวการใช้ ไม่ควรพรมน้ำ และหยิบอย่าง
เบามือการเก็บ ใส่ถุง หรือกล่องพลาสติก
ที่มีฝาปิดกันน้ำ และเก็บในตู้เย็นช่องแช่ผัก
ดอกรัก
1.4.3
การเลือก กลีบเลี้ยงสดทุกกลีบปิ ดดอก
ไม่แยกออกจากกัน ขั้วดอกแข็งแรงการใช้ ระวังอย่าให้ถูกลม ไม่พรมน้ำ
เวลาต้องการใช้เปลือก ควรแกะออกใกล้เวลาที่จะ
ใช้งานการเก็บ ใส่กล่องพลาสติกที่มีใบตอง
รองและมีฝาปิ ด หรือถุงพลาสติก ป้ องกันน้ำและลม
เก็บในตู้เย็นช่องแช่ผัก
ดอกรักเปลือก
1.4.4
การเลือก กลีบเลี้ยงหุ้มดอกสดสีเขียว
นวล ขั้วดอกแข็งแรง มีหลายขนาดการใช้ ระวังอย่าให้ถูกลม ไม่พรมน้ำ
ปลิดกลีบเลี้ยงออกแยกขนาด ใช้ใบตองรองหรือ
ใส่กระทงใบตองก็ได้การเก็บ แยกขนาดต่าง ๆ ใส่กระทง
ใบตองไว้ เรียงในกล่องพลาสติก เก็บในตู้เย็น
ช่องแช่ผักภาพที่
ดอกรักช่อ1.3 ดอกรัก
ที่มา
: นางสุวรรณี พุกภิญโญ
ภาพที่
1.4 ดอกรักเปลือก
ที่มา
: นางสุวรรณี พุกภิญโญ
ภาพที่
1.5 ดอกรักช่อ
ที่มา
: นางสุวรรณี พุกภิญโญ
ดอกไม้สด
1
สุวรรณี พุกภิญโญ
37
1.4.5
การเลือก ดอกตูม สีขาว สะอาด ก้าน
สดแข็ง สีเขียวอ่อน ดอกไม่โตเกินไปการใช้ ผึ่งให้ก้านนิ่มสำหรับการร้อย
มาลัย การใช้งานอื่น ๆ ต้องใช้ดอกสดก้านแข็ง เช่น
การเย็บแบบการเก็บ ไม่ต้องฉีดน้ำ ใส่กล่องพลาสติก
ที่มีฝาปิ ด หรือใส่ถุงพลาสติก ป้ องกันน้ำและลม
เก็บในตู้เย็นช่องแช่ผัก
ดอกพุด
1.4.6
การเลือก ก้านดอกมีความสดแข็งแรง
กลีบดอกมีสีเขียวสด ไม่มีรอยดำหรือช้ำ ควรมีขนาด
เท่า ๆ กัน ใหญ่หรือเล็กตามต้องการการใช้ นำออกจากกล่อง หรือถุง เมื่อ
จะใช้ทีละน้อยการเก็บ ใส่กล่องพลาสติก หรือถุง
พลาสติก โดยไม่ต้องฉีดน้ำ เก็บในตู้เย็นช่องแช่ผัก
ดอกกะเม็ง
1.4.7
การเลือก ก้านดอกแข็งสด ไม่อ่อนนิ่ม
กลีบดอกแน่น ไม่มีรอยช้ำ ควรเลือกขนาดเท่ากัน
ใหญ่หรือเล็ก ตามต้องการการใช้ นำใส่กระทงใบตอง โดยนำออก
จากตู้เย็นทีละน้อยการเก็บ ใส่กล่องพลาสติกที่มีใบตอง
รองและมีฝาปิ ด หรือใส่ถุงพลาสติก ไม่ต้องฉีดน้ำ
เข้าตู้เย็นช่องแช่ผักภาพที่
ดอกเบญจมาศนํ้า1.6 ดอกพุด
ที่มา
: นางสุวรรณี พุกภิญโญ
ภาพที่
1.7 ดอกกะเม็ง
ที่มา
: นางสุวรรณี พุกภิญโญ
ภาพที่
1.8 ดอกเบญจมาศน้ำ
ที่มา
: นางสุวรรณี พุกภิญโญ
ดอกไม้สด
1
สุวรรณี พุกภิญโญ
38
1.4.8
การเลือก ดอกที่มีความสด ก้านแข็ง
น้ำหนักเบา ไม่อมน้ำกลีบดอกแข็งแรงการใช้ ไม่ควรฉีดน้ำ ปลิดกลีบเลี้ยง
ออก ระวังอย่าให้ถูกลมนาน ๆ เพราะทำให้แห้ง
กลีบร่วงการเก็บ ใส่กล่องพลาสติก หรือใส่
ถุงพลาสติก เก็บในตู้เย็นช่องแช่ผัก ไม่ควรแช่ในถัง
น้ำแข็ง
ดอกบานไม่รู้โรย
1.4.9
การเลือก สีสดใสตามสีของดอก ก้าน
สีเขียวสด แข็งแรง ดอกไม่ร่วงจากก้าน ช่อมีดอกมากการใช้ ปลิดกลีบแยกประเภทเป็น
ดอกกล้วยไม้3
ใส่กล่องพลาสติกมีฝา หรือถุงพลาสติก กันลม แช่ไว้
เก็บในตู้เย็นช่องแช่ผัก
ส่วนการเก็บ ผึ่งให้สะเด็ดน้ำ ไม่พรมน้ำ
1.4.10
การเลือก ดอกสมบูรณ์สีเหลืองสด
กลีบไม่ช้ำการใช้ ตัดกลีบออกจากดอกทีละกลีบ
ครั้งละน้อย ๆ ควรจับและพับอย่างเบามือการเก็บ เรียงใส่กล่องพลาสติก ฉีดน้ำ
ให้ทั่ว ปิดฝาเก็บในตู้เย็นช่องแช่ผัก หรือคลุมด้วย
ผ้าขาวบางหมาด ๆภาพที่
ดอกบานบุรี1.9 ดอกบานไม่รู้โรย
ที่มา
: นางสุวรรณี พุกภิญโญ
ภาพที่
1.10 ดอกกล้วยไม้
ที่มา
: นางสุวรรณี พุกภิญโญ
ภาพที่
1.11 ดอกบานบุรี
ที่มา
: นางสุวรรณี พุกภิญโญ
ดอกไม้สด
1
สุวรรณี พุกภิญโญ
39
1.4.11
การเลือก ดอกสด กลีบเลี้ยงได้รูปทรง
อยู่ในสภาพสมบูรณ์การใช้ ใช้เฉพาะกลีบเลี้ยง ค่อย ๆ ดึง
ออก กลีบเลี้ยงจะได้สด และได้รูปทรงการเก็บ ฉีดน้ำใส่ถุงหรือกล่องพลาสติก
เก็บในตู้เย็นช่องแช่ผัก
ดอกชบา
1.4.12
การเลือก ดอกสีขาว ก้านดอกสีเขียวอ่อน
สด ไม่ช้ำน้ำการใช้ นำออกจากตู้เย็นครั้งละน้อย ๆ
ไม่ต้องฉีดน้ำการเก็บ ใส่ถุงพลาสติกปิดปากถุงให้
แน่น หรือกล่องพลาสติกปิ ดฝา แช่ในถังน้ำแข็งหรือ
เก็บในตู้เย็น
ดอกมะลิ
1.4.13
การเลือก ดอกสดกลีบสีเหลืองทอง
อร่าม ไม่มีรอยดำ ช้ำ หรือรอยฉีกขาดการใช้ คัดขนาดแบ่งไว้เป็นพวก ๆ
ปลิดใบทิ้งการเก็บ พับกรวยใบตอง หรือกระทง
มุมเดียว ใส่ดอกจำปาโดยนำโคนดอกลงก่อนเรียงกลีบ
ให้เรียบร้อยจนเต็มกรวย พรมน้ำให้ทั่ว นำไปเรียงใส่
กะละมังไว้ คลุมด้วยผ้าขาวบาง หรือใส่กล่องพลาสติก
มีฝาปิด เก็บในตู้เย็นช่องแช่ผักภาพที่
ดอกจำปา1.12 ดอกชบา
ที่มา
: นางสุวรรณี พุกภิญโญ
ภาพที่
1.13 ดอกมะลิ
ที่มา
: นางสุวรรณี พุกภิญโญ
ภาพที่
1.14 ดอกจำปา
ที่มา
: นางสุวรรณี พุกภิญโญ
ดอกไม้สด
1
สุวรรณี พุกภิญโญ
40
1.4.14
การเลือก ดอกสีขาวอมเหลืองเล็กน้อย
ดอกต้องสด กลีบไม่มีรอยช้ำหรือหักการใช้ คัดขนาดเพื่อแยกไว้เป็นพวก ๆ
ปลิดใบทิ้งการเก็บ พับกรวยใบตอง หรือกระทง
มุมเดียว ใส่ดอกจำปีโดยนำโคนดอกลงก่อนเรียงกลีบ
ให้เรียบร้อยจนเต็มกรวย พรมน้ำให้ทั่ว นำไปเรียงใส่
กะละมังไว้คลุมด้วยผ้าขาวบาง หรือใส่กล่องพลาสติก
มีฝาปิด เก็บในตู้เย็นช่องแช่ผัก
ดอกจำปี
1.4.15
การเลือก ควรใช้ใบตองตานี เพราะนุ่ม
เหนียว ไม่ฉีกขาดง่าย มีขนาดตามต้องการการใช้ ใช้สำหรับรองถาด รองกล่อง
ป้ องกันดอกไม้ช้ำ ก่อนใช้ควรเช็ดให้สะอาดด้วย
ผ้าหมาดการเก็บ พับใส่ถุงพลาสติกเก็บในตู้เย็น
หรือห่อด้วยกระดาษหนังสือพิมพ์หลาย ๆ ชั้น ช่วยให้
ใบตองสด ทนนานหลายวัน
ใบตอง
1.4.16
การเลือก ใบสดสีสม่ำเสมอ ใบแข็งแรง
ไม่อ่อน หรือแก่เกินไปการใช้ คัดใบ เช็ดด้วยผ้าแห้งเรียงใส่ถุง
หรือกล่องพลาสติก ก่อนนำมาตัดตามแบบการเก็บ ใส่กล่องพลาสติกปิดฝาเก็บใน
ตู้เย็น หรือใส่ถุงมัดให้แน่น ก่อนตัดกลีบภาพที่
ใบกระบือ1.15 ดอกจำปี
ที่มา
: นางสุวรรณี พุกภิญโญ
ภาพที่
1.16 ใบตอง
ที่มา
: นางสุวรรณี พุกภิญโญ
ภาพที่
1.17 ใบกระบือ
ที่มา
: นางสุวรรณี พุกภิญโญ
ดอกไม้สด
1
สุวรรณี พุกภิญโญ
41
1.4.17
การเลือก ใบไม่อ่อนหรือแก่เกินไป
มีสีเขียวสดเข้มการใช้ ตัดใบตามแบบที่ต้องการตัดใส่
กระทงใบตองการเก็บ ใส่ถุงพลาสติกหรือกล่อง
พลาสติกปิดฝา เก็บในตู้เย็นช่องแช่ผัก
ใบแก้ว
1.4.18
การเลือก สีเขียวสดสม่ำเสมอ ใบไม่
ร่วง มีหลายขนาดให้เลือกใช้ตามต้องการการใช้ ให้หักก้านเวลาใช้ ไม่ฉีดน้ำการเก็บ ห่อกระดาษหนังสือพิมพ์ใส่
ถุงพลาสติก เก็บในตู้เย็นช่องแช่ผัก
ใบโปร่งฟ้า
1.4.19
การเลือก สีเขียวเข้ม ใบไม่อ่อนหรือ
แก่เกินไป ใบเล็กหรือใหญ่ใช้ได้ทั้งหมดการใช้ ตัดใบตามแบบ ถ้าใบใหญ่จะ
ตัดได้
ควรใช้ใบแก้วหรือใบกระบือจะสวยงามกว่าการเก็บ ใส่ถุงพลาสติกหรือกล่อง
พลาสติกปิดฝาเก็บในตู้เย็นช่องแช่ผักภาพที่
ใบมะยม2 แบบ นิยมใช้ฝึกหัดร้อยมาลัย การใช้งานจริง1.18 ใบแก้ว
ที่มา
: นางสุวรรณี พุกภิญโญ
ภาพที่
1.19 ใบโปร่งฟ้า
ที่มา
: นางสุวรรณี พุกภิญโญ
ภาพที่
1.20 ใบมะยม
ที่มา
: นางสุวรรณี พุกภิญโญ
ดอกไม้สด
1
สุวรรณี พุกภิญโญ
42
1.4.20
การเลือก ใบสดแข็ง สี สม่ำ เสมอ
ไม่ควรใช้ใบอ่อนเกินไป
ไม่เขียวสดการใช้ เด็ดแยกเป็นใบ ๆ สำหรับเย็บ
ขอบแบบการเก็บ ห่อกระดาษหนังสือพิมพ์แล้ว
ใส่ถุง หรือใส่กล่องปิดฝา เก็บในตู้เย็นช่องแช่ผักภาพที่
ใบสนฉัตร(เหี่ยวง่าย) ถ้าแก่เกินไปสีจะ1.21 ใบสนฉัตร
ที่มา
: นางสุวรรณี พุกภิญโญ
ดอกไม้สด
1
สุวรรณี พุกภิญโญ
43
แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยที่
1
เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับงานดอกไม้สด
คำชี้แจง นักเรียนอ่านคำถามแล้วเลือกคำตอบที่ถูกต้อง โดยเขียนเครื่องหมาย
กระดาษคำตอบ
X ลงใน(เวลา 10 นาที)
1.
การประดิษฐ์ดอกไม้สดมีขึ้น ในสมัยใด. กรุงสุโขทัย. กรุงทวาราวดี. กรุงศรีอยุธยา. กรุงรัตนโกสินทร์
2.
อุบะขาเดียว มีชื่อว่าอะไร. อุบะตุ้งติ้ง. อุบะแขก. อุบะไทย. อุบะไทยทรงเครื่อง
3.
สวนหรือเส้น หมายถึง ข้อใด. การเย็บแบบกลม. ดอกไม้ที่ร้อยต่อจากดอกครอบ. การร้อยดอกรักเป็นเส้นใช้โยง จากมุมหนึ่งไปอีกมุมหนึ่ง. การเย็บดอกไม้สีต่าง ๆ ลงบน กาบกล้วยเพื่อปิดทับโครงต่าง ๆ
4.
แล้วจับประกบกันให้แน่น
อาจเป็นรูปทรงดอกบัวตูม หรือทรงกลม คล้ายลูกประคำ
อาจใช้กลีบกุหลาบ กลีบกล้วยไม้ก็ได้
ก้านของดอกไม้ที่มีความแข็งแรงพอ หรือไม้ไผ่เหลาไม้กลัดเป็นตัวช่วย
ประคำดอกรัก มีความหมายตรงกับข้อใด. การนำดอกรักสีเดียวกัน 2 ดอก มาผ่าตามกลีบทั้งห้า ลึกลงประมาณครึ่งดอก. ดอกไม้ที่ปักหรือจัดไว้ที่หุ่นให้มีลักษณะรวมกันเป็นกลุ่มอย่างมีระเบียบ. ดอกไม้ประดิษฐ์ให้มีลักษณะทรงกลมคล้ายลูกประคำ ใช้แทนดอกตุ้มของอุบะ. วิธีการที่ทำให้ของสิ่งหนึ่งติดกับหุ่นหรือแกนอย่างแน่น โดยการใช้
ดอกไม้สด
1
สุวรรณี พุกภิญโญ
44
5.
สิ่งที่ไม่ใช่วัสดุในงานดอกไม้สด. วาสลิน. กรรไกร. ดอกไม้ ใบไม้. ด้ายขาว, แดง
6.
ใบไม้ที่ใช้ในการร้อยมาลัยทั้งหมด. ใบแก้ว ใบกระบือ. ใบซานาดู ใบโกศล. ใบมะยม ใบมะเฟือง. ใบปริก ใบหมากผู้ หมากเมีย
7.
การร้อยอุบะใช้เข็มชนิดใดร้อยได้เร็วและสะดวกที่สุด. เข็มมือ. เข็มสอด. เข็มสอย. เข็มมาลัย
8.
ดอกไม้ที่เหมาะสมกับการร้อยตาข่ายทั้งหมด. ดอกพุด ดอกรัก. ดอกเข็ม ดอกมะเขือ. ดอกกุหลาบ ดอกบัว. ดอกบานบุรี ดอกมะลิ
9.
วัสดุที่ใช้ในการทำโครงเครื่องแขวน กลิ่นตะแคงคือข้อใด. ไม้ไผ่. เข็มมาลัย. เหล็กแบน. เหล็กกลม
10.
ดอกไม้ชนิดใดไม่ควรฉีดน้ำในการเก็บรักษา. ดอกกุหลาบ. ดอกบานบุรี. ดอกรักเปลือก. ดอกจำปี ดอกจำปา
ดอกไม้สด
1
สุวรรณี พุกภิญโญ
45
11.
วิธีเก็บใบโปร่งฟ้าที่ถูกต้อง คือข้อใด. ใส่ถุงพลาสติก หรือกล่องพลาสติกปิดฝา เก็บในตู้เย็น. ห่อกระดาษ หรือหนังสือพิมพ์ใส่ถุงพลาสติก เก็บในตู้เย็น. ใส่ถุงพลาสติก หรือกล่องพลาสติกมัดปากให้แน่น แช่ถังน้ำแข็ง. เก็บใส่กล่องพลาสติกมีฝา หรือถุงพลาสติก ป้องกันลม เก็บในตู้เย็น
12.
มาลัยกลมรักไม่รู้โรย เหมาะสมสำหรับใช้ทำมาลัยชนิดใด. มาลัยชำร่วย. มาลัยคล้องคอ. มาลัยคล้องมือ. มาลัยประธาน
13.
มาลัยที่สามารถใช้แทนเฟื่องตกแต่งโต๊ะได้. มาลัยรัก. มาลัยกลม. มาลัยตุ้มยกดอก. มาลัยแบนหน้าเดียว
14.
ชื่อของงานชนิดใด ไม่ใช่เครื่องแขวน. พู่กลิ่น. ระย้าน้อย. กลิ่นตะแคง. ตัวหนอนลายขนมเปียกปูน
15.
งานดอกไม้สดประเภทใด ที่ใช้การร้อยเป็นหลัก. พานพุ่มประยุกต์. มาลัยโซ่คล้องมือ. พานพุ่มบานไม่รู้โรย. การจัดแจกันทรงพุ่ม
ดอกไม้สด
1
สุวรรณี พุกภิญโญ
46
กระดาษคำตอบหลังเรียน หน่วยที่
1
วิชา ดอกไม้สด
1 รหัสวิชา 2403-1001
ชื่อ
-สกุล............................................................ชั้น......................เลขที่...............
*******************************************************************************
คำชี้แจง ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย X ในช่องคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียวข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
สรุปผล คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
15